IMPACT REPORT

ให้คะแนน Impact Report นี้
Viewer: {{ impModel.log_view }}
Average Rating: {{ impModel.rate_avg }}
ชื่อโครงการ โครงการระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบโดมร่วมกับการแผ่รังสีอินฟราเรดระยะไกลจากแผ่นเซรามิกสำหรับผลิตเครื่องดนตรีอีสาน
ประเภทโครงการ การลดปล่อยคาร์บอน/พลังงานสะอาด (Decarbonisation and Energy)
ผู้ขับเคลื่อนโครงการทางสังคม Unregistered IC
ปีที่ดำเนินโครงการ 2021
ภูมิภาค
จังหวัด นครพนม
รายละเอียดโครงการโดยย่อ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านท่าเรือ พัฒนา “เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบโดมร่วมกับการแผ่รังสีอินฟราเรดระยะไกลจากแผ่นเซรามิกเพื่อใช้ในการผลิตเครื่องดนตรีอีสาน” เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอบแห้ง ลดระยะเวลาในการอบแห้ง สามารถอบแห้งได้ในช่วงที่แสงแดดไม่เพียงพอและเวลากลางคืนได้ สามารถควบคุมอุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งได้ทำให้คุณภาพของไม่ไผ่ที่อบแห้งมีคุณภาพ และยังสามารถนำวัตถุดิบอื่นๆ มาแปรรูปได้อีกด้วย
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
  • Goal 7: พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
  • Goal 12: แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
  • Goal 13: การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ผู้ดำเนินโครงการหลัก
  • นักวิจัย วิทยาลัยนาหว้า
  • ผู้ได้รับประโยชน์หลัก
  • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตำบลท่าเรือ
  • คณะกรรมการ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ตำบลท่าเรือ
  • ผู้สนับสนุนหล่งทุน
  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
  • ภาคีสนับสนุนด้านต่างๆ
    วิธีการประเมิน ประมาณการณ์
    ระยะเวลาในการประเมิน 01/01/2021 - 30/09/2021
    ประเภทการประเมิน Social Return on Investment
    ผู้ประเมิน สกุลทิพย์ กีรติพันธวงศ์ และคณะ
    รูปแบบการประเมิน ประเมินโดยผู้ประเมินทางสังคม
    สถานะการรับรอง -- ไม่ระบุ --
    รูปแบบการประเมิน feasibility
    มูลค่าโครงการ 1,442,407.00 บาท
    SROI RATIO 2.39 เท่า

    ผลสัมฤทธิ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (SIA & SROI)

    มิติด้านเศรษฐกิจ/การเงิน (EC : ECONOMICS)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 98,812 บาท
    • กลุ่มฯ มีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบในการศึกษามากขึ้น รวม 38,926 บาท
    • ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน/กระบวนการผลิตที่ดีขึ้น รวม 80,846 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 56,464 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 28,232 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 16,385 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 13,763 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ ที่เพิ่มขึ้น รวม 11,797 บาท
    • เกิดการขยายโอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ ส่งผลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 0 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 234,069 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 168,530 บาท
    • เกิดการต่อยอดการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ ที่เพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดการพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการเกษตรที่เพิ่มขึ้น รวม 98,812 บาท
    • กลุ่มฯ มีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพมากขึ้น รวม 0 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดเป็นสถานที่ต้นแบบ/โมเดลต้นแบบในการศึกษามากขึ้น รวม 38,926 บาท
    • ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน/กระบวนการผลิตที่ดีขึ้น รวม 80,846 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดองค์ความรู้หรือทักษะที่เพิ่มขึ้น รวม 56,464 บาท
    • คณะกรรมการ และสมาชิกเกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพเดิมเพิ่มขึ้น รวม 28,232 บาท
    • เกิดผลงาน/งานวิจัย หรือการต่อยอดองค์ความรู้/ผลงานที่เพิ่มขึ้น รวม 16,385 บาท
    • นักวิจัยเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 13,763 บาท
    • เกิดโอกาสในการเข้าถึงงบประมาณ/ทรัพยากร/การสนับสนุนต่าง ๆ ที่เพิ่มขึ้น รวม 11,797 บาท
    • เกิดการขยายโอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ ส่งผลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวม 0 บาท
    • องค์กรมีความน่าเชื่อถือ/มีผลการประเมินองค์กรที่ดีขึ้น รวม 234,069 บาท
    • บุคลากรเกิดองค์ความรู้/ทักษะใหม่ที่เพิ่มขึ้น รวม 168,530 บาท
    • เกิดการต่อยอดการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ ที่เพิ่มขึ้น รวม 196,618 บาท
    มิติด้านสังคม/คุณภาพชีวิต (SO : SOCIAL)
    ไม่ระบุ
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 59,886 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 20,960 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดการรวมกลุ่ม/ทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกมากขึ้น รวม 42,348 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ เพิ่มขึ้น รวม 14,116 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 9,176 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในการเป็นที่ปรึกษามากขึ้น รวม 7,209 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 4,588 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชนมากขึ้น รวม 2,622 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 131,079 บาท
    • เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 102,991 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 65,539 บาท
    • กลุ่มฯ เกิดภาคีเครือข่ายและความร่วมมือเพิ่มขึ้น รวม 59,886 บาท
    • กลุ่มฯ เป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 20,960 บาท
    • คณะกรรมการและสมาชิกเกิดการรวมกลุ่ม/ทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกมากขึ้น รวม 42,348 บาท
    • คณะกรรมการ เกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้นำในวิสาหกิจชุมชนฯ เพิ่มขึ้น รวม 14,116 บาท
    • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและชุมชนดีขึ้น รวม 9,176 บาท
    • เกิดภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในการเป็นที่ปรึกษามากขึ้น รวม 7,209 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 4,588 บาท
    • นักวิจัยเกิดความภาคภูมิใจจากการสร้างการพึ่งพาตนเองได้ของชุมชนมากขึ้น รวม 2,622 บาท
    • เกิดจากการดำเนินงานร่วมกับชุมชนเพิ่มขึ้น รวม 131,079 บาท
    • เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ เพิ่มขึ้น รวม 102,991 บาท
    • หน่วยงานเป็นที่รู้จัก ภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น รวม 65,539 บาท
    มิติด้านสิ่งแวดล้อม (EN : ENVIRONMENT)
    ไม่ระบุ
    • บุคลากรเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติเพิ่มขึ้น รวม 37,451 บาท
    • บุคลากรเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติเพิ่มขึ้น รวม 37,451 บาท
    SROI RATIO: 2.39
    หมายถึง 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมคิดเป็นมูลค่า 2.39 บาท
    IMPACT DIMENSION
    เศรษฐกิจ
    65.48%
    (1.89 M)
    สังคม
    31.93%
    (0.92 M)
    สิ่งแวดล้อม
    2.6%
    (0.07 M)
    มูลค่าโครงการ: 1,442,407.00 บาท